ระบบแจ้งเตือนรหัสสี

เพื่อการรับมือการระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ การระบุและอัพเดท โซนสีเขียว โซนสีเหลือง โซนสีส้ม หรือโซนสีแดงอย่างต่อเนื่อง สามารถช่วยให้ติดตามสถานการณ์ และเพิ่มความพยายามในการรับมือเมื่อจำเป็นได้ โซนสีเหลือง/สีส้ม/สีแดงควรมีขนาดเล็กเท่าที่เป็นไปได้จริง (บริเวณละแวกหมู่บ้าน / เขตเมือง / เขตรอบเมือง / เขตรัฐ)

ประเภทของโซน

  • โซนสีเขียว: ภูมิภาคที่ไม่มีเคสยืนยันติดเชื้อ หรือ มีเคสผู้ติดเชื้อน้อยและเป็นเพียงผู้ที่มาจากภูมิภาคอื่น
  • โซนสีเหลือง: ภูมิภาคที่มีเคสผู้ติดเชื้อบ้างจากการแพร่เชื้ออย่างจำกัด แต่ไม่มีการแพร่เชื้อแบบกลุ่มก้อนในชุมชน
  • โซนสีส้ม: ภูมิภาคที่ติดกับโซนสีแดง หรือที่มีการแพร่เชื้อแบบกลุ่มก้อนในชุมชน
  • โซนสีแดง: ภูมิภาคที่มีการแพร่เชื้ออย่างกว้างขวางในชุมชน

มาตรการการตอบสนอง สีเขียว สีเหลือง สีส้ม สีแดง
เสริมสร้างความตระหนักของสังคมในประเด็นต่างๆ รวมถึงเรื่องกลไกการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส และวิธีการหลีกเลี่ยงต่างๆ (เช่น การเพิ่มระยะห่างทางสังคม, การล้างมือ, หน้ากาก)
พัฒนากระบวนการตอบสนองอย่างรวดเร็วเพื่อตรวจสอบพลเมืองในประเทศ หากมีอาการเข้าข่าย
ตั้งด่านตรวจผู้ที่เดินทางมาจากประเทศในเขตสีเหลือง หรือสีส้ม เพื่อค้นหาผู้ที่มีอาการเข้าข่าย (มีไข้,ไอ) ผู้โดยสารในพาหนะเดียวกับผู้มีอาการ (เครื่องบิน รถไฟ รถบัส รถยนต์) ควรกักตัวเผื่อรอดูผล หากผลเป็นบวกให้บังคับผู้ติดเชื้อกักตัวและผู้โดยสารและลูกเรือคนอื่นๆด้วย (รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มย่อย) กักตัว 14 วัน
กำหนดให้ผู้ที่พบปะติดต่อผู้ป่วย รวมถึงนักเดินทางทุกคนจากประเทศในเขตสีแดง กักตัวเป็นเวลา 14 วันสำหรับ
หาตัวผู้ที่พบปะติดต่อกับผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อแล้ว (ตามรอยเส้นทางการพบปะติดต่อ) และตรวจสังเกตอาการ และ/หรือ ให้พวกเขาแยกกักตัวเอง  
ส่งเสริมการดูแลตัวเอง รวมถึงการเพิ่มระยะห่างทางสังคม,การล้างมือ,วิธีจามที่ถูกต้อง  
ตรวจสุขภาพของกลุ่มคนที่มีการพบปะติดต่อในสังคมบ่อยครั้งเป็นประจำโดยเฉพาะในพื้นที่ที่พบการติดต่อระหว่างคนสู่คน เพื่อให้พบตัวผู้ติดเชื้อและการระบาดแต่เนิ่นๆ  
กระตุ้นให้ประชาชนหลีกเลี่ยงการพบปะชุมนุมที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะในพื้นที่ที่แออัด อากาศถ่ายเทไม่สะดวก  
ป้องกันและดูแลบุคลากรทางการแพทย์อย่างเต็มที่  
ส่งเสริมการใช้อุปกรณ์ป้องกันรายบุคคล รวมถึงการใช้หน้ากากอนามัย    
เลื่อน/ยกเลิกการชุมมุมหรือกิจกรรมที่ไม่จำเป็น    
ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อในสถานที่สาธารณะ    
ตรวจหาไวรัสในทุกคนที่มีอาการเข้าข่ายอย่างแข็งขัน    
เพิ่มปริมาณและความรวดเร็วในการตรวจหาไวรัส    
สั่งปิดโรงเรียน สถานที่ประกอบพิธีทางศาสนาและธุรกิจ      
จำกัดการเดินทางเว้นแต่จำเป็นอย่างยิ่งยวดเท่านั้น      
ปิดชุมชนที่ติดเชื้อ(กักบริเวณ)ให้ประชาชนอยู่บ้าน และส่งมอบสิ่งจำเป็นให้โดยไม่ต้องพบปะติดต่อหรือสัมผัสกัน      
กักกันผู้ที่พบปะติดต่อกับผู้ติดเชื้อ      
รวบรวมและส่งทรัพยากร (ทางการแพทย์ ระบบโลจิสติกส์) ภายในประเทศไปยังพื้นที่กักกัน      
แยกสถานพยาบาลสำหรับผู้ติดเชื้อให้ออกจากสถานพยาบาลสำหรับบุคคลทั่วไป      
จัดลำดับความพร้อมของโรงพยาบาลเพื่อแยกและรักษาผู้ติดเชื้อที่มีอาการรุนแรงแตกต่างกัน      

การแบ่งโซนเป็นรหัสสีต่างๆนั้นมาจากความคิดที่ว่าพื้นที่ที่มีการกระจายของไวรัสในกลุ่มชุมชนนั้น การติดต่อทางสังคมจะต้องลดลงจนถึงจุดที่แต่ละบุคคลที่ติดเชื้อจะติดเชื้อน้อยกว่าคนอื่นโดยเฉลี่ย การติดต่อทางสังคมที่ลดลงนี้จะส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยลดลงอย่างทวีคูณ (แม้ว่าระยะฟักตัวอาจมีการหน่วงเวลาก่อนที่จะสังเกตเห็นได้)

การจำกัด/ลดการเดินทางช่วยให้รักษาการเว้นระยะห่างทางสังคมแบบจริงจังเกิดง่ายขึ้น ในที่ที่กำลังเกิดการแพร่กระจายของโรคในระดับชุมชนเท่านั้น (ดังเช่นในโซนสีส้มหรือโซนสีแดง) แทนที่จะเกิดขึ้นทั่วโลกพร้อมกัน

สำหรับพื้นที่ที่มีผู้ติดเชื้อที่มาจากภูมิภาคอื่นหรือมีผู้ติดเชื้อจากการระบาดระดับท้องถิ่นในจำนวนน้อยมาก (โซนสีเขียวและโซนสีเหลือง)​ การตามรอยเส้นทางการพบปะติดต่ออาจะเพียงพอที่จะป้องกันการแพร่ระบาดจากการเติบโตได้ และดังนั้นเป้าหมายหลักคือการหลีกเลี่ยงการชุมนุมใหญ่ทางสังคม กิจกรรมที่สามารถทำให้เกิด super-spreader (คนที่มีความสามารถในการแพร่โรคไปยังบุคคลอื่นๆจำนวนมาก) ได้ แต่ถ้าเป็นที่ชัดเจนว่าการระบาดไม่ได้จำกัดเพียงไม่กี่บุคคล (ซึ่งในกรณีนี้มีความเป็นไปได้สูงที่จะมีผู้ติดเชื้อแต่ไม่รู้จักเพิ่มเติม)​ แต่หากเป็นที่แน่ชัดแล้วว่าการระบาดไม่สามารถถูกจำกัดได้ (ซึ่งในกรณีนี้มีความเป็นไปได้สูงที่จะมีผู้ติดเชื้อที่ไม่รู้จักเพิ่มขึ้น) จำนวนการติดเชื้อใหม่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเว้นแต่มาตรการสำหรับโซนสีส้มหรือ โซนสีแดงจะดำเนินการทันที

เป้าหมายของข้อจำกัดโซนสีแดงและสีส้มคือการลดการเชื่อมต่อทางสังคมทั่วไป ไปยังจุดที่มีการลดลงของการเพิ่มขึ้นของผู้ติดเชื้อแบบก้าวกระโดด เนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนมาก (และโอกาสในการแพร่กระจายผู้ติดเชื้อไปสู่จุดอื่น) เราขอแนะนำให้โซนสีแดงใช้มาตรการทางสังคมที่เข้มงวดและจำกัดการเดินทาง


สำหรับข้อมูลเพิมเติมเกี่ยวกับการตอบสนองทางการแพทย์และทางสังคม ดูได้ที่นี้:

ระบบแจ้งเตือนรหัสสี

เพื่อการรับมือการระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ การระบุและอัพเดท โซนสีเขียว โซนสีเหลือง โซนสีส้ม หรือโซนสีแดงอย่างต่อเนื่อง สามารถช่วยให้ติดตามสถานการณ์ และเพิ่มความพยายามในการรับมือเมื่อจำเป็นได้ โซนสีเหลือง/สีส้ม/สีแดงควรมีขนาดเล็กเท่าที่เป็นไปได้จริง (บริเวณละแวกหมู่บ้าน / เขตเมือง / เขตรอบเมือง / เขตรัฐ)

ประเภทของโซน

  • โซนสีเขียว: ภูมิภาคที่ไม่มีเคสยืนยันติดเชื้อ หรือ มีเคสผู้ติดเชื้อน้อยและเป็นเพียงผู้ที่มาจากภูมิภาคอื่น
  • โซนสีเหลือง: ภูมิภาคที่มีเคสผู้ติดเชื้อบ้างจากการแพร่เชื้ออย่างจำกัด แต่ไม่มีการแพร่เชื้อแบบกลุ่มก้อนในชุมชน
  • โซนสีส้ม: ภูมิภาคที่ติดกับโซนสีแดง หรือที่มีการแพร่เชื้อแบบกลุ่มก้อนในชุมชน
  • โซนสีแดง: ภูมิภาคที่มีการแพร่เชื้ออย่างกว้างขวางในชุมชน

มาตรการการตอบสนอง สีเขียว สีเหลือง สีส้ม สีแดง
เสริมสร้างความตระหนักของสังคมในประเด็นต่างๆ รวมถึงเรื่องกลไกการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส และวิธีการหลีกเลี่ยงต่างๆ (เช่น การเพิ่มระยะห่างทางสังคม, การล้างมือ, หน้ากาก)
พัฒนากระบวนการตอบสนองอย่างรวดเร็วเพื่อตรวจสอบพลเมืองในประเทศ หากมีอาการเข้าข่าย
ตั้งด่านตรวจผู้ที่เดินทางมาจากประเทศในเขตสีเหลือง หรือสีส้ม เพื่อค้นหาผู้ที่มีอาการเข้าข่าย (มีไข้,ไอ) ผู้โดยสารในพาหนะเดียวกับผู้มีอาการ (เครื่องบิน รถไฟ รถบัส รถยนต์) ควรกักตัวเผื่อรอดูผล หากผลเป็นบวกให้บังคับผู้ติดเชื้อกักตัวและผู้โดยสารและลูกเรือคนอื่นๆด้วย (รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มย่อย) กักตัว 14 วัน
กำหนดให้ผู้ที่พบปะติดต่อผู้ป่วย รวมถึงนักเดินทางทุกคนจากประเทศในเขตสีแดง กักตัวเป็นเวลา 14 วันสำหรับ
หาตัวผู้ที่พบปะติดต่อกับผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อแล้ว (ตามรอยเส้นทางการพบปะติดต่อ) และตรวจสังเกตอาการ และ/หรือ ให้พวกเขาแยกกักตัวเอง  
ส่งเสริมการดูแลตัวเอง รวมถึงการเพิ่มระยะห่างทางสังคม,การล้างมือ,วิธีจามที่ถูกต้อง  
ตรวจสุขภาพของกลุ่มคนที่มีการพบปะติดต่อในสังคมบ่อยครั้งเป็นประจำโดยเฉพาะในพื้นที่ที่พบการติดต่อระหว่างคนสู่คน เพื่อให้พบตัวผู้ติดเชื้อและการระบาดแต่เนิ่นๆ  
กระตุ้นให้ประชาชนหลีกเลี่ยงการพบปะชุมนุมที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะในพื้นที่ที่แออัด อากาศถ่ายเทไม่สะดวก  
ป้องกันและดูแลบุคลากรทางการแพทย์อย่างเต็มที่  
ส่งเสริมการใช้อุปกรณ์ป้องกันรายบุคคล รวมถึงการใช้หน้ากากอนามัย    
เลื่อน/ยกเลิกการชุมมุมหรือกิจกรรมที่ไม่จำเป็น    
ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อในสถานที่สาธารณะ    
ตรวจหาไวรัสในทุกคนที่มีอาการเข้าข่ายอย่างแข็งขัน    
เพิ่มปริมาณและความรวดเร็วในการตรวจหาไวรัส    
สั่งปิดโรงเรียน สถานที่ประกอบพิธีทางศาสนาและธุรกิจ      
จำกัดการเดินทางเว้นแต่จำเป็นอย่างยิ่งยวดเท่านั้น      
ปิดชุมชนที่ติดเชื้อ(กักบริเวณ)ให้ประชาชนอยู่บ้าน และส่งมอบสิ่งจำเป็นให้โดยไม่ต้องพบปะติดต่อหรือสัมผัสกัน      
กักกันผู้ที่พบปะติดต่อกับผู้ติดเชื้อ      
รวบรวมและส่งทรัพยากร (ทางการแพทย์ ระบบโลจิสติกส์) ภายในประเทศไปยังพื้นที่กักกัน      
แยกสถานพยาบาลสำหรับผู้ติดเชื้อให้ออกจากสถานพยาบาลสำหรับบุคคลทั่วไป      
จัดลำดับความพร้อมของโรงพยาบาลเพื่อแยกและรักษาผู้ติดเชื้อที่มีอาการรุนแรงแตกต่างกัน      

การแบ่งโซนเป็นรหัสสีต่างๆนั้นมาจากความคิดที่ว่าพื้นที่ที่มีการกระจายของไวรัสในกลุ่มชุมชนนั้น การติดต่อทางสังคมจะต้องลดลงจนถึงจุดที่แต่ละบุคคลที่ติดเชื้อจะติดเชื้อน้อยกว่าคนอื่นโดยเฉลี่ย การติดต่อทางสังคมที่ลดลงนี้จะส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยลดลงอย่างทวีคูณ (แม้ว่าระยะฟักตัวอาจมีการหน่วงเวลาก่อนที่จะสังเกตเห็นได้)

การจำกัด/ลดการเดินทางช่วยให้รักษาการเว้นระยะห่างทางสังคมแบบจริงจังเกิดง่ายขึ้น ในที่ที่กำลังเกิดการแพร่กระจายของโรคในระดับชุมชนเท่านั้น (ดังเช่นในโซนสีส้มหรือโซนสีแดง) แทนที่จะเกิดขึ้นทั่วโลกพร้อมกัน

สำหรับพื้นที่ที่มีผู้ติดเชื้อที่มาจากภูมิภาคอื่นหรือมีผู้ติดเชื้อจากการระบาดระดับท้องถิ่นในจำนวนน้อยมาก (โซนสีเขียวและโซนสีเหลือง)​ การตามรอยเส้นทางการพบปะติดต่ออาจะเพียงพอที่จะป้องกันการแพร่ระบาดจากการเติบโตได้ และดังนั้นเป้าหมายหลักคือการหลีกเลี่ยงการชุมนุมใหญ่ทางสังคม กิจกรรมที่สามารถทำให้เกิด super-spreader (คนที่มีความสามารถในการแพร่โรคไปยังบุคคลอื่นๆจำนวนมาก) ได้ แต่ถ้าเป็นที่ชัดเจนว่าการระบาดไม่ได้จำกัดเพียงไม่กี่บุคคล (ซึ่งในกรณีนี้มีความเป็นไปได้สูงที่จะมีผู้ติดเชื้อแต่ไม่รู้จักเพิ่มเติม)​ แต่หากเป็นที่แน่ชัดแล้วว่าการระบาดไม่สามารถถูกจำกัดได้ (ซึ่งในกรณีนี้มีความเป็นไปได้สูงที่จะมีผู้ติดเชื้อที่ไม่รู้จักเพิ่มขึ้น) จำนวนการติดเชื้อใหม่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเว้นแต่มาตรการสำหรับโซนสีส้มหรือ โซนสีแดงจะดำเนินการทันที

เป้าหมายของข้อจำกัดโซนสีแดงและสีส้มคือการลดการเชื่อมต่อทางสังคมทั่วไป ไปยังจุดที่มีการลดลงของการเพิ่มขึ้นของผู้ติดเชื้อแบบก้าวกระโดด เนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนมาก (และโอกาสในการแพร่กระจายผู้ติดเชื้อไปสู่จุดอื่น) เราขอแนะนำให้โซนสีแดงใช้มาตรการทางสังคมที่เข้มงวดและจำกัดการเดินทาง


สำหรับข้อมูลเพิมเติมเกี่ยวกับการตอบสนองทางการแพทย์และทางสังคม ดูได้ที่นี้: